การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การสร้างแบบจำลองสามมิติของต้นไม้ด้วย LiDAR รุ่นที่ 2”

ภาควิชาวิศวกรรมป่าไม้ นำโดย ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ เหรียญตระกูล ผศ.ดร.ชาคริต ณ ตะกั่วทุ่ง และ อ.จิรวัฒน์ ยิ่งดี จัดอบรม “การสร้างแบบจำลองสามมิติของต้นไม้ด้วย LiDAR รุ่นที่ 2” ในระหว่างวันที่ 7-8 พฤศจิกายน 2567 มีผู้เข้าอบรมจำนวน

Read more

การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การสร้างแบบจำลองสามมิติของต้นไม้ด้วย LiDAR”

ภาควิชาวิศวกรรมป่าไม้ นำโดย ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ เหรียญตระกูล ผศ.ดร.ชาคริต ณ ตะกั่วทุ่ง และ อ.จิรวัฒน์ ยิ่งดี จัดอบรม “การสร้างแบบจำลองสามมิติของต้นไม้ด้วย LiDAR” ในระหว่างวันที่ 19-20 มิถุนายน 2567 มีผู้เข้าอบรมจำนวน 15 คน

Read more

แจ้งรายชื่อผู้เข้าอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้งาน GNSS RTK เพื่อการสำรวจเบื้องต้น

การอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้งาน GNSS RTK เพื่อการสำรวจเบื้องต้น ในวันเสาร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 8.30 – 14.30 น.ณ ห้องบรรยาย 109 ตึกวนศาสตร์ 60 ปี ภาควิชาวิศวกรรมป่าไม้

Read more

ดูงานหัวตัดไม้ Harvester ในรายวิชา เครื่องจักรกลทางป่าไม้

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 นิสิตระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 และ 4 ในรายวิชาเครื่องจักรกลทางป่าไม้ ได้มีโอกาสเยี่ยมชมการทำงานของหัวตัดไม้ Harvester ในการตัดล้มไม้ ลิดกิ่ง ตัดทอนไม้ยูคาลิปตัส ในโอกาสนี้ภาควิชาวิศวกรรมป่าไม้ขอขอบพระคุณบริษัท Nisula Thailand ที่อำนวยความสะดวกและให้ความรู้กับนิสิตที่เข้าร่วม

Read more

การอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้งาน GNSS RTK เพื่อการสำรวจเบื้องต้น

วันเสาร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 8.30 – 14.30 น. ณ ห้องบรรยาย 109 ตึกวนศาสตร์ 60 ปี ภาควิชาวิศวกรรมป่าไม้ คณะวนศาสตร์ รับสมัครนิสิต และบุคคลทั่วไปที่สนใจ จำนวน

Read more

รายงานการติดตามการเจริญเติบโตของต้นนนทรีทรงปลูก พ.ศ.2565

ภาควิชาวิศวกรรมป่าไม้ดำเนินโครงการ “การสร้างแบบจำลองสามมิติของต้นนนทรีทรงปลูกด้วยเครื่องสแกนเลเซอร์ภาคพื้นดิน” ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2564 โดยสำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูลโครงสร้างของต้นนนทรีทรงปลูกเป็นฐานข้อมูลด้วยเครื่องสแกนเลเซอร์ภาคพื้นดิน (terrestrial laser scanner: TLS) ซึ่งสามารถติดตามการเจริญเติบโตของต้นนนทรีทรงปลูกได้ kraken aufblasbare piratenschiffrutsche ในปี พ.ศ. 2565 นี้ ภาควิชาวิศวกรรมป่าไม้ได้สำรวจต้นนนทรีทรงปลูกเมื่อวันที่ 10

Read more

Soil bioengineering in Forestry : วิศวกรรมชีวภาพทางดินในการป่าไม้

บทความโดย ผศ.ดร.พยัตติพล ณรงคะชวนะ ในการศึกษาทางวนศาสตร์ มีหลายกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรม หนึ่งในนั้น คืองานที่ใช้พืชหรือต้นไม้เป็นโครงสร้างวิศวกรรมเพื่อช่วยควบคุมหรือยึดดินไม่ให้เลื่อนไหลพังทลายในพื้นที่สูง เรียกว่า วิศวกรรมชีวภาพทางดิน หรือ soil bioengineering งานนี้อาจเรียกได้ว่า เป็นงานป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ (ดินถล่ม น้ำกัดเซาะตลิ่ง) ซึ่งวิศวกรจำเป็นต้องหาทางป้องกันโดยการสร้างกำแพงกันดินหรือตลิ่ง วัสดุวิศวกรรมส่วนใหญ่จะใช้เหล็ก คอนกรีต ไม้เสาเข็ม

Read more

แบบจำลองสามมิติของต้นนนทรีทรงปลูก

ประวัติต้นนนทรีทรงปลูก เมื่อวันศุกร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 เสด็จพระราชดำเนินไปยังมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตามคำกราบบังคมทูลเชิญเสด็จของคณะกรรมการสมาคมนิสิตเก่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อทรงปลูกต้นนนทรี ซึ่งเป็นต้นไม้ที่ถูกเลือกให้เป็นสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย จำนวน 9 ต้น บริเวณหน้าอาคารหอประชุม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในการเสด็จพระราชดำเนินครั้งนั้น มีพระมหากรุณาธิคุณร่วมการแสดงดนตรีที่หอประชุมของมหาวิทยาลัยเป็นครั้งแรก

Read more